Menu

SPP-Amulet
(Guru Monk).

แนะนำ/ศึกษา วัตถุมงคล


แม่ชีบุญเรือน   วัดสัมพันธวงศ์

คุณแม่บุญเรือน กลิ่นผกา เกิดเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 4 ปีมะเมียขึ้น 15 ค่่าเวลา 11.20 น. หรือตรงกับวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2437 ท่านได้ก่าเนิดในครอบครัว ที่มีฐานะ ค่อนข้างยากจน มีนายยิ้ม กลิ่นผกา เป็นบิดา และมี นางสวน กลิ่นผกา เป็นมารดา สถานที่เกิดอยู่ที่คลองสามวา อ่าเภอมีนบุรี จังหวัดพระนคร ต่อมาบิดามารดาของท่านได้ ย้ายไปอยู่ที่ต่าบลบางปะกอก อ่าเภอราษฎร์บูรณะ จังหวัดธนบุร

การปฏิบัติธรรม คุณแม่บุญเรือนได้เริ่มฝึกหัดวิปัสสนากัมมัฏฐานที่วัดสัมพันธวงศ์ กับท่านเจ้าคุณพระมหารัชชมังคลาจารย์ (เทศ นิทฺเทสโก) เจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ ต่อมาสามีได้อุปสมบทที่วัดนี้ ๑ พรรษา และเมื่อสามีลาสิกขาไปแล้ว สามีก็ยังเป็นผู้ถือมั่นในทางธรรมอย่างมาก ทำบุญให้ทานเป็นประจำ สุราซึ่งเมื่อก่อนอุปสมบทดื่มเมาถึงคลานก็เลิกเด็ดขาด ทำให้คุณแม่บุญเรือนก็ยิ่งมีศรัทธาเลื่อมใสมากขึ้น ในวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๐ จึงได้ลาสามีออกบวชเป็นชี และอยู่ปฏิบัติธรรมที่วัดสัมพันธวงศ์ ได้เพียรฝึกหัดวิปัสสนากัมมัฏฐาน

ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ ท่านเริ่มปฏิญาณไม่รับรักษาโรคด้วยวิธีการนวดให้แก่ผู้ชาย เว้นไว้แต่ธรรมจะบันดาล การรักษาโรคในระยะนี้จะเป็นการรักษาโดยอธิษฐานเพียงอย่างเดียว ส่วนการสั่งสอนและอบรมธรรมะยังคงปฏิบัติกันอย่างต่อเนื่อง จนถึงวันก่อนที่ท่านวายชนม์ ๑ วัน ครั้นต่อมาประมาณ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๗ ท่านมีอาการป่วยโรคไต หัวใจอ่อน โลหิตจาง และความดันโลหิตสูง ติดต่อกันมาตามลำดับ มีแต่อาการทรงกับทรุด ไม่ยอมรับรักษาของแพทย์ เช่น นายแพทย์ปรีดา ล้วนปรีดา และแพทย์หญิงวัฒนา ดวงจันทร์ ซึ่งเป็นศิษย์ใกล้ชิด ได้เคยอ้อนวอนเพื่อทำการรักษา โดยฉีดยา ให้น้ำเกลือและกลูโคส และอ้อนวอนขอให้รับประทานยาแผนปัจจุบันบ้าง เป็นครั้งคราว แต่คุณแม่บุญเรือนก็ไม่ยอม นานๆ จึงจะยอมตามใจแพทย์สักครั้งหนึ่ง จะพาไปโรงพยาบาลท่านก็ไม่ไป ท่านต้องนอนป่วยลุกนั่งไม่ได้เป็นเวลา ๙ เดือน "อันว่า สังขาร ร่างกาย และใจ หรือขันธ์ห้านี้ ไม่ใช่ตัวของเรา มันเป็นเพียงเครื่องอยู่อาศัยชั่วคราวเท่านั้น เป็นเรือนทุกข์ แม่ต้องการออกไปจากเรือนทุกข์นี้” คุณแม่บุญเรือนกล่าว บรรดาบุคคลในคณะสามัคคีวิสุทธิ์ เมื่อได้ยินคำพูดของท่านแล้วเต็มไปด้วยความเศร้าสะท้านในหัวใจอย่างคาดคิดไม่ถึง นี่ละคือผู้สิ้นอาสวะกิเลสผู้บรรลุอาสวักขยญาณโดยแท้ ต่อมาเมื่อวันที่ ๓, ๔, ๕ กันยายน ๐๗ ท่านมีอาการอ่อนเพลียมาก เหนื่อยในเวลาพูดและเบื่ออาหาร มีเสมหะเหนียว ในลำคอ ปวงสานุศิษย์ลูกหลานยังคงมาร่วมชุมนุมสวดมนต์ภาวนาเช่นเคย คุณแม่ก็ยังทักทายไต่ถามได้อย่างแจ่มใส หากไม่สังเกตจะไม่ทราบอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใดเลย มีข้อสังเกตอันสำคัญประการหนึ่ง ก่อนหน้านี้หลายสัปดาห์ คุณแม่ได้สั่งให้หยุดนาฬิกาเรือนใหญ่ไว้ที่เวลา ๑๑.๐๐ นาฬิกาเศษทั้งสองเรือน ท่านบอกว่าหนวกหู ชาวคณะสามัคคีวิสุทธิปฏิบัติตามคำสั่งโดยมิได้เฉลียวใจแต่อย่างใด และแล้ววันที่ลูกศิษย์ลูกหลานได้ประสบความเศร้าโศกรันทดใจอย่างใหญ่หลวงก็มาถึง เพราะในเวลา ๑๑.๒๐ น. ของวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๐๗ คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม ได้วางสังขารทิ้งร่างจากไปอย่างไม่มีวันกลับ


Kun Mae Chee Bun Ruean was a Buddhist Nun whose purity of practice was so exemplary that she became a Buddhist master in her own right in Thailands Theravada tradition. This is highly unusual and a difficult task to achieve, in a Tradition where women are not permitted to ordain as a Bhikkhuni, and must remain in white as a Karavasa Holder of Precepts. Despite these disadvantages, her great practice, Metta (Compassion) and her teachings, and Charitable Works for Buddhism, brought her to become the most highly beloved Buddhist Nun in the History of Thai Buddhism. She was known to practice and listen to the Dhamma mostly at Wat Sampant Wongs in Bangkok.

Her most famous amulet is of course the ‘Pra Putto Noi‘ amulet, which was made in various kinds of sacred powder clay, in Pim Lek (small), and Pim Yai (large). The most popular model being the large size model, in its white powder version. The Pra Putto Noi was created in the year 2494 BE, with the Mae Chee Bun Ruean as the Organiser of the raising of the funds for their making and the Charitable Acts which were planned from the funds.

The Pra Putto Noi amulet in its Pim Niyom model, if in pristine state, can fetch tens of thousands of dollars in the high end auction rooms of the Sian Pra Niyom. Luckily there were many models, and some are still affordable in this time, but they are very far and few to discover for collection. The devotees who wear her amulets walk confidently in faith of the Metta Maha Niyom and Serm Duang Klaew Klaad Powers, and healing effects of the amulets of Kun Mae Chee Bun Ruean. Devotees would rub the powders as an ointment, rubbing it on giant centipede stings, snake bites, and infected wounds, to heal them.

Her amulets are said to heal illnesses and to improve Karma. They are believed to be full of Puttakun Power to bring auspicious blessings and prosperity, because of Mae Chee Bun Ruean’s life of charitable acts, and her practice of great generosity. They are full of Metta Maha Niyom from Mae Chee Bun Ruean’s Equal treatment and Loving Compassion for all of her devotees regardless of their social or financial status. All were treated with the same Metta.

Her purity is believed to have made the amulets she created to be so powerful, and caused her Pra Putto Noi and other amulets to be extremely sought after amulets. She blessed the Famous Pra Putto Noi amulets in 2494 BE, with a ceremonial prayer for the Welfare of the Temple of Wat Awut, in Thonburi. The aim of the funds raised from the edition was to construct the Pra Putto Paas Chinarat Jom Muni, as the ‘Pra Pratan’ Main presiding Buddha Image of the Uposatha Shrineroom at Wat Sarnath Dhammaram temple, in Rayong.

She bestowed permission to Pra Ajarn Sanguan Kosago, the Abbot of Wat Awut Wikasitaram, who had already collaborated in the making of the Pra Putto Noi Amulets which were previously distributed during the Tord Pha Pha robe donation ceremony. Ma Chee Bun ruean also made extra batches to donate to the Monks at Wat Sampant Wongs, for them to give to their devotees who came to make merit Apart from the Pra Putto Noi amulet, Kun Mae Chee Bun Ruean made various other amulets which are also in extremely high regard for their Sacredness, such as the Pra Chaiyawat Putto Brass Votive Tablet of 2499 BE, and the Rian Pra Putto Jom Muni coin of the Pra Putto Yai Statue Installation Ceremony of 2499 BE. Another very popular ‘Krueang Rang’ Talismanic Charm of Mae Chee Bun Ruean was the ‘Thung Hniaw Sap” treasure glue purse (lucky purse to attract treasures and money like glue sticks to paper), made in 2497 BE. The treasure purse was made in various colours; white, blue, yellow, pink, red, black, and with various styles and designs. Som were made from sack cloth, others from fine cloths, some were large others small purses. The closures of the purses were also varied, ranging from zip to string closures.

It is a Universally known fact, that the amulets and Sacred Kaya Siddhi Elements of the Buddhist Nun Kun Mae Chee Bun Ruean, are amongst the most highly revered Buddhist Amulets in Thailand, and are as rare as they are sacred.





พระพุทโธน้อย แม่ชีบุญเรือน    ปี 2499;




ถุงเขียวเหนียวทรัพย์ แม่ชีบุญเรือน